Page 22 - พิพิธภัณฑ์ดิจิทัลกลุ่มชาติพันธ์ในล้านนา
P. 22





12




1. การเก็บข้อมูลประจ าวัน ซึ่งจะเป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบของฐานข้อมูลปฏิบัติการ

อันได้แก่ ข้อมูลด้านการเงิน การสั่งของ และรายการสินค้าคงคลัง ฮาร์ดแวร์ที่ใช้มีตั้งแต่ เซิร์ฟเวอร์
ทั้งไปบนระบบ ยูนิกส์ วินโดวส์ เอ็นที และ เมนเฟรม เริ่มจาการจัดท ารายการระบบข้อมูล ด้วย

ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เช่น ดีบีทู (DB2) ออราเคิล (Oracle) อินฟอร์

มิค (Informix) เป็นต้น
2. การเก็บรวบรวมข้อมูล แก้ไขหรือปรับแต่งให้ถูกต้อง และดึงข้อมูลที่จ าเป็นเพื่อให้การ

เก็บข้อมูลในด้านคลังข้อมูลเป็นรูปแบบเดียวกัน เพื่อรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกันขั้นตอนต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องได้แก่

2.1 การกรองข้อมูลในคลังข้อมูลเป็นสิ่งส าคัญในการน าไปใช้เพื่อการตัดสินใจจึง

จ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความถูกต้องของข้อมูลสูง แต่เนื่องจากข้อมูลที่น าเข้าสู่คลังข้อมูลมาจาก
หลายแหล่ง และมีปริมาณข้อมูลมาก ท าให้โอกาสที่จะมีข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเข้าสู่คลังข้อมูลได้ ดังนั้น

ก่อนที่จะมีการน าข้อมูลเข้า จะต้องมีกระบวนการในการตรวจสอบความผิดปกติ ของข้อมูลและท า
การแก้ไขให้ถูกต้องเสียก่อน

2.2 การแปลงข้อมูล เกิดมาจากการที่ข้อมูลมาจากแหล่งต่าง ๆ อาจจะมีวิธีและ

รูปแบบการเก็บข้อมูลต่างกัน แต่ข้อมูลเหล่านั้นหมายถึงสิ่งเดียวกัน การจัดเก็บข้อมูลที่มีความหมาย
เดียวกันจากแหล่งต่าง ๆ เข้าสู่คลังข้อมูลจึงจ าเป็นต้องแปลงข้อมูลเหล่านั้นให้อยู่ในรูปแบบที่เป็น

มาตรฐานเดียวกัน
2.3 การรวมข้อมูลเป็นกลุ่มและการสรุปยอด คือ การเก็บข้อมูลแบบสรุปรวมไว้ใน

ฐานข้อมูล เป็นวิธีการค านวณหาผลรวม ของข้อมูลในรายละเอียดในระดับชั้นล่างๆ และจัดเก็บใน

คลังข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลสรุปในภาพรวมของระดับชั้นที่อยู่ถัดไป เพื่อสนับสนุนการวิเคราะห์ข้อมูล
ในภาพรวมและเพิ่มประสิทธิภาพในการสอบถามข้อมูลที่เป็นผลรวมและช่วยประหยัดเนื้อที่เก็บ

ข้อมูลในกรณีที่ไม่ได้สนใจข้อมูลในรายละเอียด
3. การน าข้อมูลเข้าสู่คลังข้อมูล มีขั้นตอนการด าเนินการดังนี้

3.1 การน าเข้าข้อมูล หลังจากผ่านกระบวนการดังกล่าวข้างต้นแล้วข้อมูลต่าง ๆ จะ

อยู่ในรูปแบบที่พร้อมจะน าเข้าสู่คลังข้อมูลโปรแกรมที่ท าหน้าที่น าข้อมูลเข้าสู่คลังข้อมูลจะต้องมี
ประสิทธิภาพสูงในการน าเข้าข้อมูล

3.2 การปรับปรุงข้อมูล เป็นขั้นตอนการปรับปรุงข้อมูลในคลังข้อมูลซึ่งมีปัจจัยที่
ต้องพิจารณา คือ จะปรับปรุงข้อมูลเมื่อไรและปรับปรุงข้อมูลอย่างไร ซึ่งนโยบายการก าหนดความถี่

ในการปรับปรุงข้อมูลนั้นขึ้นกับความต้องการใช้ข้อมูล นอกจากนี้ยังขึ้นกับปริมาณของข้อมูลและ

ประสิทธิภาพของระบบจัดการฐานข้อมูล

   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27