Page 28 - พิพิธภัณฑ์ดิจิทัลกลุ่มชาติพันธ์ในล้านนา
P. 28












บทที่ 3


วิธีด ำเนินกำรวิจัย


โครงการคลังภูมิปัญญาดิจิทัล กระบวนการรักษาโดยหมอพื้นบ้านล้านนา ครั้งนี้ เป็นการ

วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ
และเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยมีวิธีด าเนินการวิจัย ดังนี้

1. ข้อมูลและแหล่งข้อมูล
2. ผู้ให้ข้อมูลหลักและกลุ่มเป้าหมาย

3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย และการสร้างเครื่องมือ

4. การเก็บรวบรวมข้อมูลและการพัฒนาคลังภูมิปัญญาดิจิทัล กระบวนการรักษาโดย
หมอพื้นบ้านล้านนา

5. การจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้


ข้อมูลและแหล่งข้อมูล

ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data)
เป็นข้อมูลซึ่งได้จากการลงพื้นที่ภาคสนามเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ความรู้ ภูมิปัญญาใน

การรักษาแบบพื้นบ้านโดยหมอพื้นบ้านล้านนา โดยการสัมภาษณ์ การสอบถาม การถ่ายภาพนิ่ง และ
การถ่ายวิดีทัศน์



ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
เป็นข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเอกสาร เช่น หนังสือ บทความ วารสาร แผนที่ ข้อมูลทาง

อินเตอร์เน็ต ฯลฯ รวมถึงงานวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคลังภูมิปัญญาดิจิทัล กระบวนการ
รักษาโดยหมอพื้นบ้านล้านนา



ผู้ให้ข้อมูลหลักและกลุ่มเป้ำหมำย
ผู้ให้ข้อมูลหลัก

ผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informants) ได้แก่ หมอพื้นบ้านที่มีความรู้ ความเข้าใจ และด าเนิน
กระบวนการรักษาแบบล้านนาในลักษณะต่าง ๆ เช่น การตอกเส้น จับเส้น การย่ าขาง การใช้

สมุนไพร การท าพิธีกรรม



   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33