Page 30 - พิพิธภัณฑ์ดิจิทัลกลุ่มชาติพันธ์ในล้านนา
P. 30
20
กำรเก็บรวบรวมข้อมูลและกำรพัฒนำคลังภูมิปัญญำดิจิทัล กระบวนกำรรักษำโดยหมอพื้นบ้ำน
ล้ำนนำ
การพัฒนาคลังภูมิปัญญาดิจิทัล กระบวนการรักษาโดยหมอพื้นบ้านล้านนา ผู้วิจัยมี
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลและการพัฒนาคลังข้อมูลภูมิปัญญาดิจิทัล ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 กำรศึกษำข้อมูลเบื้องต้น
ขั้นตอนนี้เป็นการศึกษาข้อมูลด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งจากหนังสือ บทความ วารสาร
งานวิจัย ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต เพื่อท าความเข้าใจเนื้อหาและข้อมูลของการศึกษาให้ชัดเจน
ขั้นตอนที่ 2 กำรเก็บรวบรวมข้อมูลควำมรู้กระบวนกำรรักษำโดยหมอพื้นบ้ำนล้ำนนำ
ขั้นตอนนี้ประกอบด้วย 1) การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และ
2) การลงพื้นที่ภาคสนามเก็บรวบรวมข้อมูลในพื้นที่ต่าง ๆ ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน พะเยา
โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความรู้ภูมิปัญญากระบวนการรักษาโดยหมอพื้นบ้านล้านนาโดยการ
สัมภาษณ์ การถ่ายภาพนิ่ง และการถ่ายวิดีทัศน์
ขั้นตอนที่ 3 กำรพัฒนำข้อมูลดิจิทัลและคลังภูมิปัญญำดิจิทัล
ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมในขั้นตอนที่ 2 ทั้งจากข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) และ
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) น ามาพัฒนาเป็นรูปแบบดิจิทัลและพัฒนาคลังภูมิปัญญาดิจิทัล
ดังนี้
1. ศึกษาวิธีการ ขั้นตอน และเทคโนโลยีที่ส าหรับการพัฒนาข้อมูลดิจิทัล
2. การด าเนินงานพัฒนาข้อมูลดิจิทัล
3. ศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีหรือเครื่องมือต่าง ๆ เพื่อการจัดการข้อมูลในคลัง
ภูมิปัญญาดิจิทัล
4. การด าเนินงานพัฒนาคลังภูมิปัญญาดิจิทัล จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน
และจังหวัดแม่ฮ่องสอน
5. การพัฒนาเว็บไซต์ “คลังภูมิปัญญาดิจิทัล กระบวนการรักษาโดยหมอพื้นบ้าน
ล้านนา”
6. การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) และแอพพลิเคชั่น (Application for
Android) ส าหรับการเผยแพร่และเข้าถึงคลังภูมิปัญญาดิจิทัลกระบวนการรักษาโดยหมอพื้นบ้าน
ล้านนา